Harry Potter Chibi Neville Longbottom 2

กิจกรรมสายรหัส



กิจกรรมที่1

บทที่ 1

ชื่อโครงการ : ด้วยน้ำใจจิตอาสา (คบ.)

ผู้รับผิดชอบโครงการ: - นายกามารูดิน  ยามา   เอกการสอนอิสลามศึกษา

                                                -นายซาการียา  เจะหะ  เอกภาษาอังกฤษ

อาจารย์ที่ปรึกษา:  กรัณฑรักข์   วิทยอภิบาลกุล

หลักการและเหตุผล

ในการเรียนรู้ของนักศึกษาเพื่อเป็นผู้มีความรู้ความสามารถในสาขาอาชีพจน ในการเรียนรู้ของนักศึกษาเพื่อเป็นผู้มีความรู้ความสามารถในสาขาอาชีพจน สามารถนำความรู้ออกไปสร้างงานสร้างอาชีพเพื่อตนเองและสังคมโดยรวม นั้น จำเป็นต้องมีความรู้ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ รวมถึงการสร้างจิตสำนึกในการช่วยเหลือสังคมหรือผู้ด้อยโอกาสในสังคมต่างๆ ด้วยซึ่งกิจกรรมต่างๆ เหล่านี้จะช่วยให้ นักศึกษาได้ความรู้มีจินตนาการสร้างสรรค์งาน รู้จักทำงานร่วมกับผู้อื่น และเมื่อกิจกรรม นั้นเป็นตนเองและสังคมมากขึ้นด้วย ดังนั้นจึงได้มีการจัดกิจกรรมจิตอาสาให้กับนักศึกษาที่เรียนสายอาชีพครู มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา   ได้นำความรู้ที่เรียนมาไปใช้ในการพัฒนาอาชีพและปรับใช้ในการทำงานของตนเองในอนาคตได้    และยังช่วยเสริมสร้างจิตสำนึกด้านความรับผิดชอบต่อสังคมให้แก่นักศึกษาที่เรียนสายอาชีพครู  และยังเป็นกิจกรรมที่เชื่อมความสัมพันธ์กับชุมชนที่ใกล้เคียงกับมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาอีกด้วย


วัตถุประสงค์

1.           เพื่อให้นักศึกษารู้จักการเป็นผู้นำ  และผู้ตามที่ดีอันจะก่อให้เกิดความสามัคคีในหมู่คณะ

2.           เพื่อให้นักศึกษาเกิดจิตสำนึกการรับผิดชอบต่อสังคม

3.           เพื่อให้นักศึกษารู้จักการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่างๆที่เกิดขึ้นทั้งทางตรงและทางอ้อมอย่างมีสติเพื่อนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันของการทำงาน

4.           เพื่อให้นักศึกษารู้จักปฏิบัติตนอยู่ในกฎระเบียบของการอยู่ร่วมกันในสังคม

5.            เพื่อปลูกฝังให้นักศึกษาใช้สิทธิและหน้าที่ตามหลักประชาธิปไตยทั้งในทำกิจกรรม   และในที่ประชุม

6.            เพื่อสร้างสัมพันธ์อันดีระหว่างมหาวิทยาลัยและชุมชน

สถานที่จัดกิจกรรมตามโครงการ:  มัสยิดนูรุลบุลญากีน     ถนนผังเมือง 4  ซอย 8  ตำบลสะเตงนอก  
อำเภอเมือง   จังหวัดยะลา


ระยะเวลาการปฏิบัติงาน 

ช่วงเตรียมงาน 

-                   ระหว่างวันที่  1-26กรกฎาคม   พ.ศ. 2556

ช่วงดำเนินงานจริง

-                   วันที่  27  กรกฎาคม  พ.ศ.   2556

ผู้เข้าร่วมกิจกรรม:   จำนวนทั้งสิ้น  48  คน

-                   นักศึกษาครุศาสตร์  กลุ่มที่  1                  จำนวน   12   คน

-                   นักศึกษาครุศาสตร์  กลุ่มที่  11                จำนวน   12   คน

-                   นักศึกษาครุศาสตร์  กลุ่มที่  27                จำนวน   12   คน

-                   นักศึกษาครุศาสตร์  กลุ่มที่  30จำนวน   12   คน

บทที่ 2

ขั้นตอนการดำเนินงาน  และแผนการดำเนินงานโครงการ

ขั้นวางแผนงาน

-                   ประชุมและปรึกษาเกี่ยวกับสถานที่ที่ต้องการจะไปทำโครงการ

-                   ประชุมหาข้อสรุปเลือกสถานที่ที่ต้องการไปทำโครงการ

-                   ส่งตัวแทนไปสำรวจสถานที่ที่ต้องการไปทำโครงการ

-                   ประชุมแจกแจงรายละเอียดเกี่ยวกับโครงการ

-                   ประชุมวางแผนขั้นตอนในการทำโครงการ

-                   ประชุมวางแผนขั้นตอนในการทำโครงการ

-                   ส่งหนังสือขออนุญาตเข้าพื้นที่เพื่อทำโครงการ


ขั้นดำเนินการ

-                   พัฒนาบริเวณห้องน้ำให้ถูกสุขลักษณะ

-                   พัฒนารอบบริเวณมัสยิดให้สะอาด

-                   ทำความสะอาดในและนอกมัสยิด

-                   บริจาคสิ่งของให้แก่มัสยิด

-                   จัดบอร์ดความรู้ต่าง ๆ

งบประมาณดำเนินการ

-       ใช้งบประมาณดำเนินการทั้งสิ้นเป็นเงิน  2,400 บาท (สองพันสี่ร้อยบาทถ้วน)

จากแหล่งงบประมาณดังนี้

-                   งบประมาณที่ได้จากการสนับสนุนของนักศึกษาครุศาสตร์  กลุ่มที่  1 

-                   งบประมาณที่ได้จากการสนับสนุนของนักศึกษาครุศาสตร์  กลุ่มที่  11

-                   งบประมาณที่ได้จากการสนับสนุนของนักศึกษาครุศาสตร์  กลุ่มที่27

-                   งบประมาณที่ได้จากการสนับสนุนของนักศึกษาครุศาสตร์  กลุ่มที่  30

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

-      มีการสร้างความสัมพันธ์และสามัคคีที่ดีต่อกัน

-       ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจิตอาสาสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในการทำ งาน

-       ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจิตอาสาสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในการทำงาน ในอนาคต

-       เพื่อให้นักศึกษาสามารถดำเนินกิจกรรมจิตอาสาให้บรรลุผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์

เริ่มการดำเนินการพัฒนามัสยิดนูรุลบุลยากีน

ถึงที่มัสยิดนูรุลบุลยากีนก็มานั่งรวมตัวเพื่อเตรียมงานในการพัฒนามัสยิด

ช่วยกันกวาดขยะ ถูพื้น  และเช็ดกระจกในมัสยิดให้สะอาด












มอบของที่ระลึกให้กับมัสยิด


ร่วมถ่ายรูปหมู่กับอิมามมัสยิดนูรุลบุลยากีน



สิ่งที่เราได้รับจากการไปพัฒนาครั้งนี้

1.  ได้รู้จักความรักความสามัคคี

2.  สร้างมิตรภาพที่ดีต่อกัน รู้จักเพื่อนใหม่ๆ

3.  สร้างมิตรภาพที่ดีต่อกัน รู้จักเพื่อนใหม่ๆ

4.  เรียนรู้การทำงานแบบเป็นทีม

5. สอนให้เรารู้จักการวางแผนงานอย่างเป็นขั้นตอน

6.  สอนให้เรากล้าเผชิญกับอุปสรรคต่างๆได้

5.  สอนให้เรากล้าเผชิญกับอุปสรรคต่างๆได้

7.  เรียนรู้วิธีการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า


กิจกรรมที่2

บทที่ 1

ชื่อโครงการ : ด้วยน้ำใจจิตอาสา (คบ.)

ผู้รับผิดชอบโครงการ:     -     นายกามารูดิน  ยามาเอกการสอนอิสลามศึกษา

-      นายซาการียา  เจะหะ  เอกภาษาอังกฤษ

อาจารย์ที่ปรึกษา :  กรัณฑรักข์   วิทยอภิบาลกุล

หลักการและเหตุผล

ในการเรียนรู้ของนักศึกษาเพื่อเป็นผู้มีความรู้ความสามารถในสาขาอาชีพสามารถนำความรู้ออกไปสร้างงานสร้างอาชีพเพื่อตนเอง  และสังคมโดยรวมนั้นจำเป็นต้องมีความรู้ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ รวมถึงการสร้างจิตสำนึกในการช่วยเหลือสังคมหรือผู้ด้อยโอกาสในสังคมต่าง ๆ ด้วยซึ่งกิจกรรมต่างๆ เหล่านี้จะช่วยให้นักศึกษาได้ความรู้มีจินตนาการสร้างสรรค์งาน รู้จักทำงานร่วมกับผู้อื่น และสังคมมากขึ้นด้วย ดังนั้นจึงจัดโครงการด้วยน้ำใจจิตอาสา (ค.บ.) 56 ครั้งที่ 2  เพื่อได้มีการจัดกิจกรรมจิตอาสาให้กับนักศึกษาสาขาการศึกษาคณะครุศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาได้นำความรู้ที่เรียนมาไปใช้ในการงานอาชีพและปรับใช้ในการทำงานของตนเองในอนาคตได้เป็นอย่างดี และยังช่วยเสริมสร้างจิตสำนึกด้านความรับผิดชอบต่อสังคมให้แก่นักศึกษาสาขาการศึกษาคณะครุศาสตร์

วัตถุประสงค์

1.             เพื่อให้นักศึกษารู้จักการเป็นผู้นำ  และผู้ตามที่ดีอันจะก่อให้เกิดความสามัคคีในหมู่คณะ

2.             เพื่อให้นักศึกษาเกิดจิตสำนึกการรับผิดชอบต่อสังคม

3.             เพื่อให้นักศึกษารู้จักปฏิบัติตนอยู่ในกฎระเบียบของการอยู่ร่วมกันในสังคม

สถานที่จัดกิจกรรมตามโครงการ:  มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

ระยะเวลาการปฏิบัติงาน 

ช่วงเตรียมงาน 

-                   ระหว่างวันที่  2  ตุลาคม   พ.ศ. 2556

ช่วงดำเนินงานจริง

-                   วันที่  16  ตุลาคม  พ.ศ.   2556

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

-      มีการสร้างความสัมพันธ์และสามัคคีที่ดีต่อกัน

-       ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจิตอาสาสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในการทำงาน

-       ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจิตอาสาเกิดความสามัคคีกันในหมู่คณะ

ผู้เข้าร่วมโครงการ:   จำนวนทั้งสิ้น  46 คน

-                   นักศึกษาสาขาการศึกษาคณะครุศาสตร์  กลุ่มที่  1                  จำนวน   12   คน

-                   นักศึกษาสาขาการศึกษาคณะครุศาสตร์  กลุ่มที่  11                จำนวน   12   คน

-                   นักศึกษาสาขาการศึกษาคณะครุศาสตร์  กลุ่มที่  27                จำนวน   11   คน

-                   นักศึกษาสาขาการศึกษาคณะครุศาสตร์  กลุ่มที่  30                จำนวน   11   คน


บทที่ 2

ขั้นตอนการดำเนินงาน  และแผนการดำเนินงานโครงการ

ขั้นวางแผนงาน

-                   ประชุมและปรึกษาเกี่ยวกับสถานที่ที่ต้องการจะไปทำโครงการ

-                   ประชุมหาข้อสรุปเลือกสถานที่ที่ต้องการไปทำโครงการ

-                   ส่งตัวแทนไปสำรวจสถานที่ที่ต้องการไปทำโครงการ

-                   ประชุมแจกแจงรายละเอียดเกี่ยวกับโครงการ

-                   ประชุมวางแผนขั้นตอนในการทำโครงการ

-                   ส่งหนังสือขออนุญาตเข้าพื้นที่เพื่อทำโครงการ

ขั้นดำเนินการ

-                   พัฒนาบริเวณหอประชุมหลังใหญ่

-                   พัฒนารอบบริเวณอาคารคณะวิทยาการจัดการ

-                   และรอบ ๆ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

งบประมาณดำเนินการ

-       ใช้งบประมาณดำเนินการทั้งสิ้นเป็นเงิน  0 บาท (ศูนย์บาทถ้วน)

บทที่ 3

ผลดำเนินกิจกรรม
ก็มานั่งรวมตัวเพื่อเตรียมงานในการพัฒนามหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา และแบ่งงานให้แต่ละคนไปพัฒนาตาจุดต่าง ๆ 



ช่วยกันเก็บขยะและทำความสะอาดรอบ ๆ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา











รายงานผลประเมินโครงการจิตอาสาพัฒนาสังคม

ผลการประเมนิโครงการ

ผู้เข้าร่วมโครงการและตอบแบบสอบถามจํานวนผู้เข้าร่วมโครงการ   20   คนแบบสอบถามได้รับคืนมา จํานวน 20 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 100 ของผู้เข้าร่วมโครงการ ทั้งหมด จากจํานวนแบบสอบถาม 20 ฉบับ วิเคราะห์แบบสอบถามได้ผลดังนี้ 

จากแบบสอบถามได้กําหนดให้ค่านํ้าหนักคะแนน ของข้อคําถามในแบบสอบถามดังนี้  

5 หมายถึง ระดับความพึงพอใจ มากที่สุด  

4 หมายถึง ระดับความพึงพอใจ มาก  

3 หมายถึง ระดับความพึงพอใจ ปานกลาง  

2 หมายถึง ระดับความพึงพอใจ น้อย  

1 หมายถึง ระดับความพึงพอใจ น้อยที่สุด

เกณฑ์การแปลความหมายของค่าคะแนนเฉลี่ย 

คะแนนเฉลี่ยตั้งแต่ 4.50-5.00   หมายถึง ระดับความพึงพอใจ มากที่สุด  

คะแนนเฉลี่ยตั้งแต่ 3.50-4.49   หมายถึง ระดับความพึงพอใจ มาก  

คะแนนเฉลี่ยตั้งแต่ 2.50-3.49   หมายถึง ระดับความพึงพอใจ ปานกลาง 

คะแนนเฉลี่ยตั้งแต่ 1.50-2.49   หมายถึง ระดับความพึงพอใจ น้อย 

คะแนนเฉลี่ยตั้งแต่ 1.00-1.49   หมายถึง ระดับความพึงพอใจ น้อยที่สุด


รายการประเมิน
ระดับคะแนนเฉลี่ย
ระดับความพึงพอใจ
1.ความเหมาะสมของสถานที่จัดโครงการ
5.00
มากที่สุด
2.ความเหมาะสมของระยะเวลาที่จัดโครงการ
4.98
มากที่สุด
3.การแสดงออกของผู้จัดโครงการในระหว่างการพัฒนา เช่น กริยา มารยาท การแต่งกาย
4.96
มากที่สุด
4.ความเหมาะสมของโครงการ
4.95
มากที่สุด
5.ความร่วมมือกันของผู้จัดโครงการ
4.99
มากที่สุด
6.ความเหมาะสมของอุปกรณ์ในการทำโครงการ
4.99
มากที่สุด
7.ความมุ่งมั่นของผู้จัดโครงการ
4.99
มากที่สุด
8.ประโยชน์ที่ท่านได้รับจากการทำโครงการต่าง ๆ ในครั้งนี้
4.97
มากที่สุด


จากการวิเคราะห์แบบประเมินจะเห็นว่าผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจจากการจัดกิจกรรมในครั้งนี้ทางด้านความเหมาะสมของสถานที่จัดโครงการอยู่ในระดับมากที่สุด (ระดับคะแนน 5.00)   ด้านความเหมาะสมของระยะเวลาที่จัดโครงการอยู่ในระดับมากที่สุด (ระดับคะแนน 4.98)  ด้านการแสดงออกของผู้จัดโครงการในระหว่างการพัฒนา เช่น กริยา มารยาท การแต่งกายอยู่ในระดับมากที่สุด (ระดับคะแนน 4.96) ด้านความเหมาะสมของโครงการอยู่ในระดับมากที่สุด (ระดับคะแนน 4.95)  ด้านความร่วมมือกันของผู้จัดโครงการอยู่ในระดับมากที่สุด (ระดับคะแนน 4.99)  ด้านความเหมาะสมของอุปกรณ์ในการทำโครงการอยู่ในระดับมากที่สุด (ระดับคะแนน 4.99)  ด้านความมุ่งมั่นของผู้จัดโครงการอยู่ในระดับมากที่สุด (ระดับคะแนน 4.99)  และด้านประโยชน์ที่ได้รับจากโครงการนี้อยู่ในระดับมากที่สุดเช่นกัน (ระดับคะแนน 4.97)


สรุปผลการประเมิน

จะเห็นว่าผู้เข้าร่วมโครงการด้วยน้ำใจจิตอาสา (ค.บ.)  ครั้งที่ 2  มีความพึงพอใจต่อกิจกรรมนี้สูงกว่าระดับ คะแนน 4 ซึ่งมีค่าคะแนนสูงกว่าดัชนีที่กำหนดไว้ และมีผู้ประเมิน 15 คน ซึ่งผู้ประเมินมี ความพึงพอใจในระดับมาก ร้อยละ 96.7

ข้อเสนอแนะ

1. ต้องการให้มีกิจกรรมในโครงการมากกว่านี้

2. ต้องการให้ระยะเวลาในการทำกิจกรรมในโครงการมีระยะเวลาที่มากกว่านี้ 

สิ่งที่เราได้รับจากการไปพัฒนาครั้งนี้

1.ได้รู้จักความรักความสามัคคี

2.สร้างมิตรภาพที่ดีต่อกัน รู้จักเพื่อนใหม่ๆ

4.เรียนรู้การทำงานแบบเป็นทีม

5. สอนให้เรารู้จักการวางแผนงานอย่างเป็นขั้นตอน

6.สอนให้เรากล้าเผชิญกับอุปสรรคต่างๆได้

7.เรียนรู้วิธีการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า

กิจกรรมที่3

บทที่ 1

ชื่อโครงการ : มือพี่จูงมือน้อง (คบ.) 56  ครั้งที่ 3

ผู้รับผิดชอบโครงการ :     - นายกามารูดิน  ยามา    สาขาการสอนอิสลามศึกษา

                                                      - นายซาการียา  เจะหะ    สาขาภาษาอังกฤษ

อาจารย์ที่ปรึกษา  :  กรัณฑรักข์   วิทยอภิบาลกุล

หลักการและเหตุผล

ในการเรียนรู้ของนักศึกษาเพื่อเป็นผู้มีความรู้ความสามารถในสาขาอาชีพ  สามารถนำความรู้ออกไปสร้างงาน  สร้างอาชีพเพื่อตนเองและสังคมโดยรวมนั้นจำเป็นต้องมีความรู้ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ รวมถึงการสร้างจิตสำนึกในการช่วยเหลือสังคมหรือผู้ด้อยโอกาสในสังคมต่างๆ ด้วย            ซึ่งกิจกรรมต่างๆ เหล่านี้จะช่วยให้นักศึกษาได้ความรู้มีจินตนาการสร้างสรรค์งาน    รู้จักทำงานร่วมกับผู้อื่น  และสังคมมากขึ้นด้วยดังนั้นจึงจัดโครงการมือพี่จูงมือน้อง  (ค.บ.) 56  ครั้งที่ 3  เพื่อได้มีการจัดกิจกรรมจิตอาสาให้กับนักศึกษาสาขาการศึกษาคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา   ได้นำความรู้ที่เรียนมาไปใช้ในการพัฒนาอาชีพและปรับใช้ในการทำงานของตนเองในอนาคตได้ และยังช่วยเสริมสร้างจิตสำนึกด้านความรับผิดชอบต่อสังคมให้แก่นักศึกษาสาขาการศึกษาครุศาสตร์  และยังเป็นกิจกรรมที่เชื่อมความสัมพันธ์กับชุมชนที่ใกล้เคียงกับมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาอีกด้วย

วัตถุประสงค์

1.             เพื่อให้นักศึกษารู้จักการเป็นผู้นำ  และผู้ตามที่ดีอันจะก่อให้เกิดความสามัคคีในหมู่คณะ

2.             เพื่อให้นักศึกษาเกิดจิตสำนึกการรับผิดชอบต่อสังคม

3.             เพื่อให้นักศึกษารู้จักการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่างๆที่เกิดขึ้นทั้งทางตรงและทางอ้อมอย่างมีสติเพื่อนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันของการทำงาน

4.             เพื่อสร้างสัมพันธ์อันดีระหว่างมหาวิทยาลัยและชุมชน

สถานที่จัดกิจกรรมตามโครงการ:   มัสยิดอัลตักวา  ตำบลสะเตงนอก  อำเภอเมือง  จังหวัดยะลา

ระยะเวลาการปฏิบัติงาน 

ช่วงเตรียมงาน 

-                   ระหว่างวันที่  29 - 14  ธันวาคม  พ.ศ. 2556

ช่วงดำเนินงานจริง

-                   วันที่  15  ธันวาคม  พ.ศ.   2556

ผู้เข้าร่วมกิจกรรม:   จำนวนทั้งสิ้น  45  คน

-                   นักศึกษาสาขาการศึกษาคณะครุศาสตร์    กลุ่มที่  1                  จำนวน   11   คน

-                   นักศึกษาสาขาการศึกษาคณะครุศาสตร์    กลุ่มที่  11                จำนวน   12   คน

-                   นักศึกษาสาขาการศึกษาคณะครุศาสตร์    กลุ่มที่  27                จำนวน   11   คน

-                   นักศึกษาสาขาการศึกษาคณะครุศาสตร์    กลุ่มที่  30                จำนวน   11   คน

ขั้นตอนการดำเนินงาน  และแผนการดำเนินงานโครงการ

ขั้นวางแผนงาน

-                   ประชุมและปรึกษาเกี่ยวกับสถานที่ที่ต้องการจะไปทำโครงการ

-                   ประชุมหาข้อสรุปเลือกสถานที่ที่ต้องการไปทำโครงการ

-                   ส่งตัวแทนไปสำรวจสถานที่ที่ต้องการไปทำโครงการ

-                   ประชุมแจกแจงรายละเอียดเกี่ยวกับโครงการ

-                   ประชุมวางแผนขั้นตอนในการทำโครงการ

ขั้นดำเนินการ

-                   จัดกิจกรรมเสริมความรู้ให้แก่เด็กนักเรียนตาดีกา

-                   จัดกิจกรรมนันทนาการให้แกเด็กนักเรียนตาดีกา

-                   ร่วมพูดคุยกับครู  อาจารย์  ของโรงเรียนตาดีกา

งบประมาณดำเนินการ

-       ใช้งบประมาณดำเนินการทั้งสิ้นเป็นเงิน  2,300 บาท (สองพันสามร้อยบาทถ้วน)

จากแหล่งงบประมาณดังนี้

-                   งบประมาณที่ได้จากการสนับสนุนของนักศึกษาสาขาการศึกษาคณะครุศาสตร์ กลุ่มที่  1 

-                   งบประมาณที่ได้จากการสนับสนุนของนักศึกษาสาขาการศึกษาคณะครุศาสตร์ กลุ่มที่  11

-                   งบประมาณที่ได้จากการสนับสนุนของนักศึกษาสาขาการศึกษาคณะครุศาสตร์ กลุ่มที่  27

-                   งบประมาณที่ได้จากการสนับสนุนของนักศึกษา สาขาการศึกษาคณะครุศาสตร์ กลุ่มที่  30

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

-      มีการสร้างความสัมพันธ์และสามัคคีที่ดีต่อกัน

-       ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจิตอาสาสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในการทำ งาน

-       ผู้เข้าร่วมกิจกรรมอาสาเกิดความสามัคคีกันในหมู่คณะ

-       เพื่อให้นักศึกษาสามารถดำเนินกิจกรรมจิตอาสาให้บรรลุผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์


บทที่  3

เริ่มการดำเนินงานโครงการมือพี่จูงมือน้อง

พบปะคุณครูประจำโรงเรียนตาดีกามัสยิดอัลตักวา  และน้อง ๆ นักเรียนตาดีกา

แบ่งกลุ่มน้อง ๆ ทำกิจกรรมฐานสร้างความรู้ต่าง  ๆ
ฐานที่ 1  ยาเสพติด

  
ฐานที่  2  สภาวะโลกร้อน

  
ฐานที่  3  เทคดนโลยีสารสนเทศ


 ฐานที่  4   อาเซียน
เข้าฐานเสร็จก่อนให้น้อง ๆ  ไปรับประทานอาหารเที่ยง
หลังจากรับประทานอาหาร และละหมาดเสร็จ ก็เข้าช่วงกิจกรรมช่วงบ่าย
พี่ ๆ นักศึกษาเตรียมทำความสะอาดเพื่อเตรียมสถานที่
พอถึงเวลาบ่ายโมง น้อง ๆ ก็มาร่วมตัวกันที่ลานกิจกรรม
  
แบ่งกลุ่มน้อง ๆ สรุปความรู้ต่าง ๆ ที่ได้จากโครงการครั้งนี้


  
หลังจากน้อง ๆ นำเสนอเสร็จสิ้น พี่ ๆ ก็ทำงานสรุปกิจกรรมในวันนี้อีกครั้ง



แล้วก็มาถึงพิธีปิด  ก็ได้เชิญคุณครูประจำโรงเรียนตาดีกามากล่าวโอวาทและปิดพิธี




และมอบของที่ระลึก  และร่วมกันถ่ายรูปหมู่


รายงานผลประเมินโครงการจิตอาสาพัฒนาสังคม
ผลการประเมินโครงการ
ผู้เข้าร่วมโครงการและตอบแบบสอบถามจํานวนผู้เข้าร่วมโครงการ   30   คนแบบสอบถามได้รับคืนมา จํานวน 30 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 100 ของผู้เข้าร่วมโครงการ ทั้งหมด จากจํานวนแบบสอบถาม 30 ฉบับ วิเคราะห์แบบสอบถามได้ผลดังนี้ 
จากแบบสอบถามได้กําหนดให้ค่านํ้าหนักคะแนน ของข้อคําถามในแบบสอบถามดังนี้  
5 หมายถึง ระดับความพึงพอใจ มากที่สุด  
4 หมายถึง ระดับความพึงพอใจ มาก  
3 หมายถึง ระดับความพึงพอใจ ปานกลาง  
2 หมายถึง ระดับความพึงพอใจ น้อย  
1 หมายถึง ระดับความพึงพอใจ น้อยที่สุด
เกณฑ์การแปลความหมายของค่าคะแนนเฉลื่ย 
คะแนนเฉลี่ยตั้งแต่ 4.50-5.00   หมายถึง ระดับความพึงพอใจ มากที่สุด  
คะแนนเฉลี่ยตั้งแต่ 3.50-4.49   หมายถึง ระดับความพึงพอใจ มาก  
คะแนนเฉลี่ยตั้งแต่ 2.50-3.49   หมายถึง ระดับความพึงพอใจ ปานกลาง 
คะแนนเฉลี่ยตั้งแต่ 1.50-2.49   หมายถึง ระดับความพึงพอใจ น้อย 
คะแนนเฉลี่ยตั้งแต่ 1.00-1.49   หมายถึง ระดับความพึงพอใจ น้อยที่สุด

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น